เวทีนักวิจัย Cafe Scientifique

บริติช เคานซิล ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการวิจัยภายใต้ทุน Newton Fund Institutional Links ในรูปแบบงาน Cafe Scientifique เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยได้เล่าเรื่องราวงานวิจัยของตนเองสู่สาธารณะชนและสื่อมวลชน งานถูกจัดภายในร้านกาแฟที่มีบรรยากาศเรียบง่ายและเป็นกันเอง

มาทำความรู้จักกับนักวิจัย และรายละเอียดงานวิจัยภายใต้โครงการ Institutional Links ดังนี้

Cafe Scientifique 2018

วันที่ 9 พ.ค. 2018

สถานที่ ร้านกาแฟ Quest Cafe พญาไท

นักวิจัยที่เข้าร่วมงาน

1. ศาสตราจารย์ ดร. ธีรยุทธ วิไลวัลย์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

การพัฒนาอุปกรณ์ภาคสนามจากกระดาษร่วมกับแมสสเปกโตรเมตรีแบบพกพาได้เพื่อการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนจากอุตสาหกรรมอาหาร

2. ดร. กัลยาณ์ ศรีธัญญลักษณา (สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ)

การพัฒนาเครือข่ายงานวิจัยด้านสุขภาพกุ้งเพื่อลดช่องว่างและเชื่อมโยงในการทางานของภาควิชาการ ภาคนโยบายและภาคเกษตรกร

3. ดร. วรรณา เต็มสิริพจน์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)

โครงการยกระดับระบบนิเวศผู้ประกอบการในประเทศไทย

4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิจิตรบุษบา มารมย์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญอนันต์ นทกุล (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

โครงการวิจัยการวางแผนเพื่อเมืองนิเวศน์ และสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมความพลวัตของภูมิอากาศ

5. รองศาสตราจารย์ ดร. ปณต ถาวรังกูร และคณะนักวิจัย (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)

การเข้าสู่เกษตรกรรมความแม่นยาสูง

Cafe Scientifique 2017

วันที่ 31 ส.ค. 2017

สถานที่ ร้านกาแฟ True Coffee สยามสแควร์ ซอย 2

นักวิจัยที่เข้าร่วมงาน

1. ศาสตราจารย์ ดร. เพทาย เย็นจิตโสมนัส (มหาวิทยาลัยมหิดล)

การพัฒนา ที-เซลล์ ที่มีตัวรับลูกผสมเพื่อใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มาลี สันติคุณาภรณ์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

การผลิตไบโอดิเซลอย่างคุ้มค่าและประหยัดพลังงานจากน้ำมันพืชในประเทศไทย

3. ศาสตราจารย์ ดร. บรรจบ ศรีภา (มหาวิทยาลัยขอนแก่น)

บทบาทของภูมิคุ้มกันแต่กำเนิดในการก่อโรค

พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในชนบทของประเทศไทย

4. ศาสตราจารย์ นายแพทย์ วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

การกลายพันธุ์ของโรคพันธุกรรมหายากในเด็ก

5. ผศ. ดร. กาญจนา เลิศมีมงคลชัย (มหาวิทยาลัยขอนแก่น)

รศ. ดร. นริศรา จันทราทิตย์ (มหาวิทยาลัยมหิดล)

รศ. ดร. ธนาภัทร ปาลกะ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

การปรับปรุงวิธีวินิจฉัยและป้องกันโรคเมลิออยโดสิส และวัณโรคในประเทศไทยและสหราชอาณาจักร

6. รศ. ดร. ปาริฉัตร หงสประภาส (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)

การใช้ประโยชน์ด้านสุขภาพในการขับเคลื่อนการเพิ่มมูลค่าตลอดห่วงโซ่อุตสาหกรรมข้าวและผลิตภัณฑ์

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง